วันศุกร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2555

วันที่ 9 มีนาคม 2555

ครั้งที่ 16

- อาจารย์ได้ให้ทุกคนนำเสนองานที่อาจารย์สั่งไปและอาจารย์ก็ให้แก้ไขงานในบางกรณีที่ผิด
- กลุ่มของดิฉัน ได้ทำพยัญชนะ "ส"



วันที่ 1 มีนาคม 2555

ครั้งที่ 15 

-อาจารย์ให้นักศึกษาเสนองานที่ค้างไว้
-อาจารย์สอนร้องเพลง ก-ฮ
-อาจารย์สอนให้เราทำสื่อเกี่ยวกับภาษาสำหรับเด็กงานชิ้นแรกคือ ตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าข้างบนวาดภาพส่วนข้างล่างเขียนคำ ส่วนกระดาษอีกแผ่นให้ตัดอักษรออกมาเป็นคำๆเพื่อจะให้เด็กวางคำแต่ละคำลงไปใน ใต้ภาพ
-อาจารย์ให้ตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยมเช่นเดิม ข้างบนเป็นรูปข้างล่างเป็นคำ จากนั้นก็เขียนคำที่เราวาดมาสามคำ
 








 

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555

ครั้งที่  14






-การทำหนังสือนิทานสำหรับเด็กนั้น เราไม่ควรเจาะจงทำเป็นรูปแบบที่เป็นแบบเดียว ควรมีรูปแบบที่หลากหลายและไม่จำเจ

-หลักในการทำนิทานนั้น เราควรที่จะตั้งคำถามที่เป็นหลักใหญ่ๆก่อน แล้วค่อยมาในหลักที่เล็กๆ

-อาจารย์ได้นำหนังสือนิทานของรุ่นพี่มาให้เราดูเป็นหลักในการทำนิทาน

-หนังสือนิทานแต่ละเล่มจะมีคำซ้ำๆ ปรากฏอยู่เพื่อที่จะให้เด็กได้สังเกตระหว่างภาพและคำที่ซ้ำๆ



งานที่ได้รับมอบหมาย
-ให้ทำหนังสือเล่มเล็กโดยที่เราและเด็กร่วมกันทำโดยที่เรากำหนดหัวข้อ และให้เด็กเป็นคนฉีกหรือตัดกระดาษให้และเราก้สังเกตพฤติกรรมของเด็ก

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2555

ครั้งที่ 13

- อาจารย์ให้วาดภาพอะไรก็ได้แล้วเล่าเรื่องต่อๆกันให้จบ ครั้งละ 8 คน (ฉันวาดภาพผีเสื้อ)

 





นิทานที่แต่ง  ใน ป่าแห่งหนึ่งมีบ้านหลังใหญ่มีพี่น้องสามคน พี่น้องสามคนก็ช่วยกันดูแลบ้านและปลูกดอกไม้รอบๆบ้าน กลิ่นหอมของดอกไม้ทำให้ผีเสื้อบินมาดูดน้ำหวานของดอกไม้ เมื่อกระต่ายชุบุ มาเจอก็เลยกระโดดวิ่งไล่จับผีเสื้อ แล้วเจ้ากระต่ายชิบิเห็นชุบุวิ่งไล่จับผีเสื้อก็เลยวิ่งตาม ชิมิเห็นกระต่ายชุบุและชิบิกระโดดจับผีเสื้อก็นึกสนุกเลยวิ่งตามจนมาถึงบึง แห่งหนึ่งในบึงแห่งนี้มีเจ้ากบน้อยอยู่บนใบบัว เจ้ากบน้อยตกใจจึงกระโดดลงใบในน้ำ และมาเจอปลาหมึกที่หลงทางมา เจ้าปลาหมึกจึงขอความช่วยเหลือจากเจ้ากบน้อยว่า"พาฉันกลับบ้านหน่อย"กบน้อย จึงพาปลาหมึกไปส่ง และสัตว์ทั้งสองก็ได้สัญญาต่อกันว่าจะเป็นเพื่อนกันตลอดไป



- อาจารย์ให้วาดภาพแล้วอ่านออกว่าเป็นคำหรือสิ่งของอะไรก็ได้(ฉันทำคำว่า "ปาก")






- อาจารย์ให้วาดภาพที่สะกดคำออกไปทีละคนหน้าห้อง (ฉันคำว่าผีเสื้อ)



 - อาจารย์ให้แสดงท่าทางตามชื่อของตัวเอง และทำของเพื่อนคนข้างๆด้วย
 - ร้องเพลง ก -ฮ



พยัญชนะ มี 44 ตัว 28 เสียง
     - อักษรกลาง มี 9 ตัว คือ ก,, ,,,,, (ไก่จิกเฎ็กตายเด็กฏายบนปากโอ่ง)
     - อักษรสูง มี 11 ตัว คือ ข , , ,,, (ฉันฝากขวดขี้ผึ้งใส่ถุงให้เศรษฐี)
     - อักษร ต่ำเดี่ยว มี10 ตัว คือ ง ,,,,,,,,, (งูใหญ่นอนอยู่ ณ ริมวัดโมฬีโลก)
     - อักษรต่ำคู่  ,, ,,,,
- สร้างหนังสือหัดอ่าน พยัญชนะ + สระ

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555

ครั้งที่  12 

อาจารย์เปิดบล็อกและตรวจดูความก้าวหน้าของบล็อกแต่ละคน 
การทำหนังสือภาพ   จะต้องเลือกความคิดรวบยอดที่ต้องการให้เด็กมีประสบการณ์ เช่น   เธอชอบกินอะไร อะไรเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า

















- อาจารย์บรรยายการสร้างภาพปรินาคำทาย















-เลือกและกำหนดสิ่งที่ต้องการให้เด็กทาย


งานที่ได้รับมอบหมาย 

- ให้จับกลุ่ม 4 คน ทำหนังสือภาพ และ ภาพปริศนาคำทาย

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555

ครั้งที่  11 



- วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์สั่งให้ไปทำงานและตรวจสอบความเรียบร้อยของBlog

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555

ครั้งที่  10

การทำ e-book เป็นนิทานสอนเด็ก และควรใช้โปรแกรม captivate 


- เป็นการสื่อสารทางเดียว
สีตัวหนังสือ

ขนาด
- ภาพ
ภาพกับคำให้สอดคล้องกัน
 





 

วันที่ 26 มกราคม 2555

ครั้งที่  9


ดูภาพนี้แล้วนึกถึงอะไรบ้าง
-พัฒนาการการเปลี่ยนแปลง
-ความรู้สึกคือคำว่ารัก
-รู้ว่ามารยาทคือคำว่า ครับ
-ถ้าเด็กเป็นผู้หญิง เด็กอาจจะยังเรียงประโยคไม่เข้าใจ เด็กอาจจะคิดว่า พ่อเป็นผู้ชาย เลยใช้คำว่าครับ
-สามารถรู้ว่าคุณครูบอกให้เด็กทราบว่าเด็กต้องใช้ประโยคอย่างไร
-สามารถรู้ว่าภาษาคือ เครื่องมือ ที่ใช้ในการสื่อสาร
-สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อเด็ก คือ คุณครู พ่อแม่ และสิ่งรอบๆตัวเด็กทุกอย่าง
 
 

วันที่ 22 มกราคม 2555

ครั้งที่ 8


- อาจารย์ให้สมัครเว็บโทรทัศน์ครู
คุณค่าของนิทาน
การเล่านิทาน 
โครงสร้างของนิทาน 
ความสำคัญของดนตรี 
องค์ประกอบของภาษา






จาก แนวคิดพื้นฐานที่ว่า "นิทาน" เป็นสิ่งที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เรื่องราวในนิทานมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างเสริมจินตนาการให้แก่เด็ก การนำนิทานมาเป็นสื่อหลักในการจัดประสบการณ์ จึงเป็นเทคนิคที่จะช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ได้ง่ายยิ่งขึ้น คุณครูแมว ดร. นฤมล เนียมหอม จึงได้คิดองค์ความรู้ การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐานโดยเริ่มต้นจากกิจกรรมเล็ก ๆ น้อย จนมาทำเป็นเต็มรูปแบบในโรงเรียนทุ่งมหาเมฆตั้งแต่ปี 2550 โดย ในขั้นตอนการเรียนรู้เด็ก ๆ จะเป็นผู้เลือกนิทานด้วยตัวเอง จากนั้นคุณครูจะนำนิทานที่เด็ก ๆ เลือกมาประยุกต์ใช้ในการคิดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของเด็ก ๆ ทั้ง 6 กิจกรรม วิธีนี้จะทำให้เด็ก ๆ สนุกกับการเรียนรู้เหมือนอยู่ในโลกนิทานตลอดทั้งวัน

อิทธิบาท 4

คำว่า อิทธิบาท แปล ว่า บาทฐานแห่งความสำเร็จ หมายถึง สิ่งซึ่งมีคุณธรรม เครื่องให้ลุถึงความสำเร็จตามที่ตนประสงค์ ผู้หวังความสำเร็จในสิ่งใด ต้องทำตนให้สมบูรณ์ ด้วยสิ่งที่เรียกว่า อิทธิบาท ซึ่งจำแนกไว้เป็น ๔ คือ


ฉันทะ คือ ความพอใจ ในฐานะเป็นสิ่งที่ ตนถือว่า ดีที่สุด ที่มนุษย์เรา ควรจะได้ ข้อนี้ เป็นกำลังใจ อันแรก ที่ทำให้เกิด คุณธรรม ข้อต่อไป ทุกข้อ



วิริยะ คือ ความพากเพียร หมายถึง การการะทำที่ติดต่อ ไม่ขาดตอน เป็นระยะยาว จนประสบ ความสำเร็จ คำนี้ มีความหมายของ ความกล้าหาญ เจืออยู่ด้วย ส่วนหนึ่ง

จิตตะ หมาย ถึงความไม่ทอดทิ้ง สิ่งนั้น ไปจากความรู้สึก ของตัว ทำสิ่งซึ่งเป็น วัตถุประสงค์ นั้นให้เด่นชัด อยู่ในใจเสมอ คำนี้ รวมความหมาย ของคำว่า สมาธิ อยู่ด้วยอย่างเต็มที่

วิมังสา หมาย ถึงความสอดส่องใน เหตุและผล แห่งความสำเร็จ เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ ให้ลึกซึ้งยิ่งๆ ขึ้นไปตลอดเวลา คำนี้ รวมความหมาย ของคำว่า ปัญญา ไว้อย่างเต็มที่